You are using an outdated browser. For a faster, safer browsing experience, upgrade for free today.

Loading...

ผลงานนวัตกรรม

โครงการยกระดับทักษะโค้ดดิ้งสู่การสร้างสรรค์โครงงานนวัตกรรมอัจฉริยะ CODEKATHON
รุ่นที่ 1
ระหว่างวันที่ 2 - 5 มิ.ย. 2565
สถานที่อบรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัด มหาสารคาม
ลำดับ โรงเรียน ชื่อทีม สมาชิกในทีม ประเภทผลงาน ชื่อผลงาน รายละเอียด
1 โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์
จังหวัดมหาสารคาม
K.W.S. PANDA นางสาวรุ่งราวรรณ ศรีภา
นายภาณุวัฒน์ อบเชย
นางสาวชญาดา แสนเห็มทอง
นางสาวจินตนา ดีจันทร์
Smart Farm PANDA SMART FARM ฟาร์มอัจฉริยะที่เน้นการใช้พลังงานทางเลือก เพื่อประหยัดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ โดยมีการใช้พลังงานจากแผงโซลาร์เซลล์ มาควบคุมระบบการจ่ายน้ำ-ไฟ และระบบการให้อาหารสัตว์ในโรงเรือน
2 โรงเรียนโกสุมวิทยาสรรค์
จังหวัดมหาสารคาม
K.W.S. สบัดเลอ นายชัยพิทักษ์ จันทร์โท
นายนวพล จันทะปัสสา
นางสาวเขมจิรา บรรเทา
นางสาวศรินดา ไชยโวหาร
Smart Living SMART HOME STAY บ้านพักอัจฉริยะ ที่จะทำให้ผู้ที่พักอาศัยได้รับความสะดวกสบาย ด้วยระบบสั่งการแบบอัตโนมัติ อีกทั้งยังประหยัดพลังงานด้วยการใช้แผงโซลาร์เซลล์ เพื่อใช้พลังงานสะอาดแทนพลังงานไฟฟ้า
3 โรงเรียนโคกก่อพิทยาคม
จังหวัดมหาสารคาม
KP School นายพงษ์ศธร ใจดี
นายณัฐพล ปะละท่า
นายอภิชาติ จันมา
ด.ช.พันธวิช โคทนา
Smart Farm ระบบโรงเรือนอัจฉริยะ ระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ที่ประสบปัญหาเรื่องของต้นทุนและผลผลิตที่ไม่ได้คุณภาพ ให้สามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ได้ ท่ามกลางสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในประเทศไทย
4 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
จังหวัดมหาสารคาม
DBPS นายณัฐพล เสนาโนฤทธิ์
นายสุรเชษฐ์ ธรรมปัญญา
นายพรชัย นามพร
นายนพพร บุตรนันท์
Smart Environment เครื่องคัดแยกขวดและกระป๋องอัจฉริยะ เครื่องคัดแยกขวดและกระป๋องอัตโนมัติ มีวัตถุประสงค์เพื่อแยกขวดในรูปแบบต่างๆ และความสะดวกสบายไม่ต้องมาเสียเวลาแยกขวดด้วยตัวเอง ตัวเครื่องมีระบบอัตโนมัติ ซึ่งสามารถเปิด-ปิด ด้วยเซนเซอร์อัลตร้าโซนิค?
5 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
จังหวัดมหาสารคาม
Zigsax นายจิรายุ สุบุญมี
นายภัทรกร พรมธิดา
นายวนชัย สีสุมัง
นายชิษนุชา แก้วขวัญข้า
Smart Farm AUTOMATIC CLOSE SENSOR ระบบ AUTOMATIC CLOSE SENSOR มีการควบคุมการเปิด-ปิดโรงเรือนอัติโนมัติจึงถูกคิดค้นขึ้น เพื่อช่วยให้การเพาะปลูกสามารถควบคุมปริมาณแสงได้ดียิ่งขึ้น ด้วยการใช้เซนเซอร์วัดอุณหภูมิภายในโรงเรือน เพื่อการเพาะปลูกที่ดียิ่งขึ้น
6 โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
จังหวัดมหาสารคาม
DWR.Ozone นายสุรชัย ศรีธรณ์
นางสาวกุลปรียา สุจจะชารี
นางสาวณัฐฐ์ชันยาร์ เนาว์แก้ว
นางสาวธัญญารัตน์ ชาวพงศ์
Smart Living ระบบสแกนใบหน้าควบคุมการเปิด-ปิดชองประตู ระบบที่ถูกคิดค้นขึ้น เพื่อช่วยรักษาความปลอดภัยให้กับที่พักอาศัย โดยการนำเซนเซอร์มาช่วยสแกนจุดสำคัญบนใบหน้า เช่นดวงตา หรือแม้กระทั่งลายนิ้วมือ สามารถต่อยอดนำไปใช้ในสถานที่ทำงาน หรือโรงเรียนได้อีกด้วย
7 โรงเรียนดงใหญ่วิทยาคม รัชมังคลาภิเษก
จังหวัดมหาสารคาม
mercuryD.W.R นางสาวแพรลดา ชาวพงษ์
นางสาวศิรินทิพย์ ชาราช
นางสาวนรินทร เชียงสวนจิก
นางสาวสุนิศา ชาวพงษ์
Smart Farm SMART WATER SYSTEM ระบบรดน้ำอัจฉริยะ นำมาใช้ในการปลูกพืชแบบ Hydroponic (ปลูกพืชแบบไร้ดิน) ซึ่งเป็นอีกหนึ่งทางเลือกให้กับเกษตรกร ที่จะช่วยลดต้นทุนในเรื่องของดินและสารเคมี และสามารถทำให้เกษตรกรทราบถึงปัญหาของระบบน้ำวนได้ทันที ด้วยระบบของเซนเซอร์ตรวจจับความชื้น ที่จะมีการแจ้งเตือนผ่านแอพลิเคชันทันที
8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด
T.U.P. 101 นายกิตติศักดิ์ พุทธจันทร์
นายธนภัทร นาเมือง
นายอภิชัย จุ่นหัวโทน
นายธีรัช ยาระวัง
Smart Living KHORT HI-TECH HOUSE บ้านประหยัดพลังงาน ที่เน้นการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ ผนวกกับระบบ IoT ให้เหมาะสมกับการอยู่อาศัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบยืนยันตัวตนด้วยใบหน้า ระบบสแกนลายนิ้วมือ ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหวในเวลากลางคืน ระบบวัดอุณหภูมิและวัดความชื้นในดิน สำหรับการเพาะปลูกพืชพันธุ์รอบบ้าน เป็นต้น อีกทั้งได้นำแนวคิดการใช้ระบบ Solar Cell มาเป็นพลังงานทดแทนภายในบ้าน เพื่อช่วยโลกประหยัดพลังงานไปอีกทางด้วย
9 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา
จังหวัดสกลนคร
T.N.W. TEAM 1 นายจตุรวิทร์ เดชไพรศิลป์
นายปกป้อง สิทธิศักดิ์
นายปฏิภาณ วรรณคีรี
นายอธิปัตย์ นิลทะราช
Smart Living ระบบควบคุมอุปกรณ์ภายในบ้าน การควบคุมระบบเปิดและปิดไฟฟ้าภายในบ้านด้วยเทคโนโลยี RFID พร้อมแจ้ง เตือนผ่าน LINE รวมทั้งแสดงผลผ่านจอ LCD แบบเรียลไทม์ผนวกเข้ากับระบบ AI โดยการยืนยันตัวตนด้วยใบหน้า (Face Recognition Identify) เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยแก่ผู้ใช้งาน
10 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา
จังหวัดสกลนคร
T.N.W. TEAM 2 นายศิฆรินทร์ อุปจันทร์
นายกิตติพัฒน์ ธงศรี
นายวรินทร ปุ่งคำน้อย
นายศิริราช กางทอง
Smart Environment เครื่องคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนช่วยในการกำจัดและคัดแยกขยะ พร้อมลำเลียงไปยังสถานที่ที่จัดเตรียมไว้ และมีการแจ้งเตือนผ่าน Application ทำให้รถเก็บขยะสามารถเข้าถึงได้ทุกพื้นที่
11 โรงเรียนธาตุพนม
จังหวัดนครพนม
Bingo ด.ช.ธีรพันธ์ อูทอง
ด.ช.ชัยรุวัฒน์ โอภาสิริวัฒนกุล
ด.ช.ณัฏฐพัชร์ สันติพจน์
ด.ช.ณัฐวัชร สุมะนาท
Smart Living SMART HOME ในปัจจุบัน ค่าสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ? นั้นก็จะมีราคาที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ ระบบ SMART HOME จึงถูกพัฒนาขึ้น เพื่อนำพลังงานสะอาดมาใช้ทดแทนพลังงานไฟฟ้า?
12 โรงเรียนนาภูพิทยาคม
จังหวัดมหาสารคาม
Npp Smart Farm นายดัสกร ลาภไธสง
นายชนาธิป อาษานอก
นายธีระพล น้อยมูลตรี
นายจตุภัทร บ่อแก้ว
Smart Farm MUSHROOM CULTIVATION AS A MODERN FARMER ฟาร์มเห็ดที่กำลังขยายตัวในปัจจุบัน เกิดจากปัญหาด้านการส่งออกของเห็ดที่ไม่ได้คุณภาพตามที่ต้องการเอาไว้และไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดการณ์เอาไว้ จึงเกิดแนวคิดในการเพาะปลูกเห็ดรูปแบบใหม่ขึ้นมา เพื่อแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพและผลผลิตของเกษตรกรสมัยใหม่
13 โรงเรียนบรบือวิทยาคาร
จังหวัดมหาสารคาม
บรบือวิทยาคาร นายจิตรกร พวงทอง
นายธนโชติ ทศโยเคน
นายอัสดาวุฒิ เอื้อวงค์
นางสาวภูษณิศา ศรีคุณ
Smart Living บ้านสำหรับผู้สูงอายุอัจฉริยะ บ้านสำหรับผู้สูงอายุอัจฉริยะ มีระบบที่คอยอํานวยความสะดวกและรักษาความปลอดภัย โดยมีเซนเซอร์ในการช่วยเตือนผู้ดูแลผู้สูงอายุ ให้มาดูแล เพื่อทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีมากยิ่งขึ้น
14 โรงเรียนผดุงนารี
จังหวัดมหาสารคาม
Banana นางสาวอรุณวดี ภูมาศ
นางสาวอัจฉรา เเสนละคร
นายธนาพิพัฒน์ ภูมิดอนเนาว์
นายศิริวัฒน์ อำนวยวิทย์
Smart Environment TREE IN THE TREE ด้วยสภาพแวดล้อมที่เป็นมลพิษในเมือง การปลูกพืชในอาคารช่วยให้อากาศดีขึ้นได้ โปรเจค Tree in the tree จึงได้ถูกคิดค้นและพัฒนาขึ้นมา โดยสามารถควบคุมการรดน้ำได้อย่างอัติโนมัติผ่านแอพลิเคชัน ที่จะแจ้งเตือนความชื้นในดิน
15 โรงเรียนมหาชัยพิทยาคาร
จังหวัดมหาสารคาม
Empty Brain นายอภิเดช แก้วเกตุ
นางสาวนิโลบล วรรณา
นายอนุชิต วรรณศรี
นายรามไกรฤทธิ์ เหล่าเจริญ
Smart Living THE YELLOW HOUSE OF THE LIFE ระบบอัจฉริยะที่คอยดูแลชีวิตภายในบ้านพักอาศัยเพื่อความสะดวกสบายและความปลอดภัยสำหรับผู้อยู่อาศัย เช่น การบอกอุณหภูมิภายในบ้าน การอัปเดตข่าวสารต่างๆ การควบคุมแสงสว่าง การสั่งการต่างๆภายในบ้านด้วยเสียง โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ?
16 โรงเรียนมหาวิชานุกูล
จังหวัดมหาสารคาม
more-wo-kor1 นายธนพล ถาสินแก้ว
นางสาวภัสรา ยศมืด
นายกฤตติพัชร เต่าทอง
นางสาวสุวนันท์ ปาริโก
Smart Environment ถังขยะอัจฉริยะ ปัญหาการทิ้งขยะมูลฝอย มักส่งผลกระทบทั้งต่อสภาพแวดล้อม และสุขอนามัยของประชาชน ระบบถังขยะอัจฉริยะจะช่วยให้หน่วยงานที่ดูแลความสะอาด สามารถเข้ามาดำเนินการได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ด้วยระบบเซนเซอร์ตรวจจับปริมาณของสิ่งของ พร้อมแจ้งเตือนผ่าน Application
17 โรงเรียนมหาวิชานุกูล
จังหวัดมหาสารคาม
more-wo-kor2 ด.ช.วชิรวิทย์ ทวยหา
ด.ช.วรกฤต บุรีนอก
ด.ช.ธนโชติ คำรินทร์
ด.ช.จิรภัทร ดวงหิรัญ
Smart Living SMART RESTAURANT เตาปิ้งย่างอัติโนมัติ ที่จะเข้ามาช่วยให้ร้านอาหารเป็น Smart Restuarant ด้วยระบบเซนเซอร์วัดอุณหภูมิและตรวจจับความร้อน
18 โรงเรียนมัธยมภูฮังพัฒนวิทย์
จังหวัดกาฬสินธุ์
DO ON PHU นายศุภกิจ หาทอง
นายมานพ แก้วเกตุพงษ์
นายธราเทพ ทัดทอง
นายศุภสัณฑ์ พละกรณ์
Smart Farm SMART FARMING ระบบที่นำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนช่วยเกษตรกร ในการบริหารจัดการการเพาะปลูกในพื้นที่ ลดระยะเวลาและแรงงานในการทำงาน ทำให้การเพาะปลูกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
19 โรงเรียนวัดป่านาเชือก
จังหวัดมหาสารคาม
สิ่งแปลกปลอม นางสาวพัชรพร จำปาดวง
นายฐากูร ภายไธสง
นางสาวศิริกัญญา ดอกบัว
นางสาวอรัญญา ปาริโต
Smart Living ประตูเปิด-ปิดอัจฉริยะ เพิ่มระดับความปลอดภัยให้กับที่อยู่อาศัยอีกขั้น ด้วยระบบเปิด-ปิดประตูอัจฉริยะ โดยการนำ Sensor มาประยุกต์ใช้กับการสแกนลายนิ้วมือในการเข้า-ออก ที่อยู่อาศัย
20 โรงเรียนศรีสุขพิทยาคม
จังหวัดมหาสารคาม
innovation of srisukpit นายปฏิภาณ สุขกาย
ด.ญ.ณัฐริกา ผาลา
ด.ญ.เมษณี บุญผง
ด.ญ.อรนริน ภูเลี่ยมคำ
Smart Living ระบบควบคุมส่องสว่าง แสงสว่างเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต ระบบควบคุมแสงสว่างในที่อยู่อาศัย จะช่วยให้ผู้ที่อยู่อาศัยสามารถควบคุมพลังงานในบ้านได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งในอนาคตสามารถที่จะพัฒนาให้เป็น Smart Community ระบบควบคุมการเปิด-ปิดไฟ ในชุมชนได้
21 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
จังหวัดมหาสารคาม
Umbrella Slide ด.ช.สัจจพงศ์ เฉิดจินดา
ด.ช.นิติพงศ์ สุวรรณธาดา
ด.ช.ศุภวิชญ์ ทับ​วิ​ธร
ด.ญ.ธีรกานต์ โนนศรีชัย
Smart Living รีโมทอัจฉริยะ รีโมทอัจฉริยะ สามารถควบคุมได้หลายอย่าง เช่นเปิด-ปิดพัดลม เปิด-ปิดโทรทัศน์ เป็นต้น และนอกจากนี้ยังสามารถใช้โทรศัพท์มือหรือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สั่งการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆได้ และยังสามารถใช้โทรศัพท์มือถือตรวจจับรีโมทเพื่อลดการศูนย์หาย?
22 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)
จังหวัดมหาสารคาม
Teslua นายกฤษฏิ์กานต์ สีเฉลียว
นางสาวนิติชญา กลางคาร
นางสาวนันทิชา วารีขันธ์
นายพงศ์ภีระ รัตนพร
Smart Living SMART DRUG TREASURY การพัฒนาระบบคลังยาที่มีการแจ้งเตือนบุคคลเข้าออกคลังยาและแจ้งเตือนอุณหภูมิ ความชื้นของยาเพื่อใช้ในการเก็บดูแลรักษา โดยแจ้งเตือนผ่านแอปพลิเคชัน LINE Notify เพื่อช่วยลดข้อผิดพลาดในการจัดเก็บยา ให้คงไว้ในอุณหภูมิที่เหมาะสม และแก้ปัญหาอุปกรณ์ทางการแพทย์และยา ที่อาจถูกโจรกรรมจากคลังยาภายในโรงพยาบาล เป็นการยกระดับมาตรฐานการดูแลระบบคลังยาและเวชภัณฑ์ในโรงพยาบาล ให้มีความสะดวกรวดเร็ว และเพิ่มความปลอดภัยอีกระดับ
23 โรงเรียนสารคามพิทยาคม
จังหวัดมหาสารคาม
SPK coding นายนราธิป หงษ์ทวี
นายชิณพงษ์ แสนศักดิ์
นายตันติยวัตร จันทร์ศิริ
นางสาวปวีณาวดี อู่
Smart Living SMART NERVE CONCEPTของ SMART NERVE ก็คือบ้านที่เราจะปรับให้ทำงานอัตโนมัติตามที่เราต้องการได้ โดยมีทั้งระบบที่เราจะควบคุมเองหรือตั้งค่าเอาไว้ แล้วทำตามที่เราตั้งค่าไว้เพื่อความสะดวกสบาย? ไม่ว่าจะเป็นการเปิดปิดไฟในส่วนต่างๆของบ้าน หรือจะเป็นการเปิดปิด sun roof การเปิดปิดโรงรถ ?การเปิดปิดเครื่องปรับอากาศ ทั้งหมดที่ว่ามานี้สามารถใช้ smart phone เครื่องเดียวในการจัดการได้เลย?
24 โรงเรียนสารคามพิทยาคม
จังหวัดมหาสารคาม
The Tempest นายวิทยายุทธิ์ เทียนหอม
นายปวริศร วังหอม
นายวัชรดล สาพิมาน
นายชิษณุพงศ์ ซู
Smart Farm SMART ARGICULTURE SYSTEM ระบบในฟาร์มนี้จะช่วยเหลือเกษตรกรมือใหม่หรือผู้ที่สนใจในการเกษตรในปัจจุบัน ในปัจจุบันการเกษตรสามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีได้ จึงทำให้การทำเกษตรนั้นสะดวกสบายขึ้น เพราะในระบบของเรามีทั้งโดมที่สามารถเก็บรักษาพืชผักไว้ได้ ซึ่งจะใช้พลังงานจากโซล่าเซลล์ส่วนหนึ่ง และในห้องรักษาผักที่อยู่ในโดมจะมีเซนเซอร์คอยตรวจจับอุณหภูมิและเซนเซอร์ตรวจวัดความชื้น เพื่อรักษาอุณหภูมิและความชื้นให้เหมาะสมกับการรักษาผักชนิดนั้นๆ โดยจะแสดงค่าอุณภูมิผ่านแอพพลิเคชั่นที่เราสร้างขึ้น
25 โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์
จังหวัดนครราชสีมา
LA Team ด.ญ.กชพรรณ ดวงมณี
ด.ช.ชวนากร นารินรักษ์
ด.ช.พงศกร พจนานุภาพ
ด.ช.พีรวัส พฤกษชาติ
Smart Farm DEVELOPMENT OF ARGICULTURE โรงเรือนอัจฉริยะ ที่สามารถควบคุมการทำงานของสปริงเกอร์รดน้ำหลังคาได้จากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ทำให้เกษตรกรลดภาระในการดูแลโรงเรือน สามารถนำเวลาไปควบคุมส่วนอื่นในโรงเรือนแทนได้
Voelas
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

หมู่ที่ 7 245 ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม รหัสไปรษณีย์ 44150

ฝ่ายประสานงานโครงการ

คุณณัฏฐกานต์ ผาสุข
โทร. 089-8343236
codekathon@itit.ac.th